ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คู่มือการพัฒนาซอฟต์แวร์บนเว็บบราวซ์เซอร์ให้รองรับ UA ด้วยภาษา PHP"

จาก Wiki_EAI
ไปยังการนำทาง ไปยังการค้นหา
แถว 87: แถว 87:
 
  '''  case 'php':  
 
  '''  case 'php':  
 
  '''  default:  
 
  '''  default:  
  '''  return (bool) preg_match(/^[ก-๛a-zA-Z0-9_+&*-]+(?:\.[ก-๛a-zA-Z0-9_+&*-]+)*@(?:[ก-๛a-zA-Z0-9-]+\.)+[ก-๛a-zA-Z]{2,16}$/u", $address);
+
  '''  return (bool) preg_match("/^[ก-๛a-zA-Z0-9_+&*-]+(?:\.[ก-๛a-zA-Z0-9_+&*-]+)*@(?:[ก-๛a-zA-Z0-9-]+\.)+[ก-๛a-zA-Z]{2,16}$/u", $address);
  
 
<!--T:15-->
 
<!--T:15-->

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:17, 24 มีนาคม 2565

ภาษาอื่น ๆ:
English • ‎ไทย

คู่มือนี้ได้จัดทำขึ้นมาเพื่อใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาซอฟต์แวร์บนเว็บบราวซ์เซอร์เพื่อให้รองรับโดเมนภาษาไทย (IDN) และอีเมลภาษาไทย (EAI) โดยใช้ภาษา PHP


Preparing to Support UA in PHP

ระบบที่ใช้ในการพัฒนา

  1. ระบบฐานข้อมูล
    • MySQL
    • PHPMyAdmin
  2. ระบบบนเว็บบราวซ์เซอร์
    • ระบบลงทะเบียน (Registration)
    • ระบบ Login
    • ระบบแสดงผล Profile
  3. ระบบส่งอีเมล
    • PHPMailer

Software ที่ใช้ในการพัฒนา

  1. Filezilla [Win] [Mac]
  2. Web Browser เช่น Firefox, Chrome, Safari
  3. Text Editor (Code Editor) เช่น Notepad, Atom

Source code

  • Source code ที่ใช้ใน workshop นี้ [source code]

Application Architecture

App-archetiect-3.png App-archetiect-2.png App-archetiect-1.png

Developing Applications to Support UA in PHP

สร้างฐานข้อมูลที่รองรับ IDN และ EAI

CREATE TABLE IF NOT EXISTS accounts ( 
   `id` int(11) NOT NULL AUTO_INCREMENT,
   `username` varchar(50) NOT NULL,
   `password` varchar(255) NOT NULL,
   `email` varchar(100) NOT NULL,
   `activation_code` varchar(50) DEFAULT '',
   PRIMARY KEY (`id`)
 ) ENGINE=InnoDB AUTO_INCREMENT=2 DEFAULT CHARSET=utf8;

แก้ไขให้ระบบลงทะเบียนรองรับการใส่อีเมล EAI

แก้ไขไฟล์ register.html จาก

<input type="email" name="email" placeholder="Email" id="email" required>

เป็น

<input type="text" name="email" placeholder="Email" id="email" required>

แก้ไขให้ระบบลงทะเบียนตรวจสอบอีเมล EAI ได้

แก้ไขไฟล์ register.php จาก

if (!filter_var($_POST['email'], FILTER_VALIDATE_EMAIL)) { 

      exit('Email is not valid!');
 
  }

เป็น

  if (preg_match('/^[ก-๛a-zA-Z0-9_+&*-]+(?:\.[ก-๛a-zA-Z0-9_+&*-]+)*@(?:[ก-๛a-zA-Z0-9-]+\.)+[ก-๛a-zA-Z]{2,16}$/u', $_POST['email']) == 0) {
      exit('Email is not valid!');
 
 }

แก้ไขให้ระบบลงทะเบียนสามารถส่งอีเมล EAI ได้ด้วย PHPMailer

แก้ไขไฟล์ PHPMailer/src/PHPMailer.php จาก

  case 'php': 
  default:
  return filter_var($address, FILTER_VALIDATE_EMAIL) !== false;

เป็น

  case 'php': 
  default: 
  return (bool) preg_match("/^[ก-๛a-zA-Z0-9_+&*-]+(?:\.[ก-๛a-zA-Z0-9_+&*-]+)*@(?:[ก-๛a-zA-Z0-9-]+\.)+[ก-๛a-zA-Z]{2,16}$/u", $address);

Regular expression ข้างต้นสามารถใช้ตรวจสอบรูปแบบ email ภาษาไทยได้ หากต้องการตรวจสอบ email ภาษาอื่นๆอาจต้องพิจารณาใช้ regular expression รูปแบบอื่นที่ไม่เจาะจง เช่น

  • something@something ^(.+)@(.+)$