ผลต่างระหว่างรุ่นของ "Universal Acceptance Implementation"
Photchanan (คุย | มีส่วนร่วม) |
Titipong (คุย | มีส่วนร่วม) ล |
||
(ไม่แสดง 23 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 3 คน) | |||
แถว 27: | แถว 27: | ||
=== คู่มือพัฒนา EAI Mail Server === <!--T:22--> | === คู่มือพัฒนา EAI Mail Server === <!--T:22--> | ||
− | มูลนิธิ THNIC ได้ศึกษาและดำเนินการด้าน UA มาตั้งแต่ปี 2560 และได้รวบรวมความรู้ในการพัฒนาอีเมลเซิร์ฟเวอร์ | + | มูลนิธิ THNIC ได้ศึกษาและดำเนินการด้าน UA มาตั้งแต่ปี 2560 และได้รวบรวมความรู้ในการพัฒนาอีเมลเซิร์ฟเวอร์ จัดทำเป็นคู่มือดังต่อไปนี้ |
<!--T:23--> | <!--T:23--> | ||
+ | * [[Special:MyLanguage/คู่มือการพัฒนา EAI Mail Server บน Ubuntu 24|คู่มือการพัฒนา EAI Mail Server บน Ubuntu 24]] : พฤษจิกายน 2567 (อัพเดตล่าสุด 11 พฤษจิกายน 2567) | ||
+ | * [[Special:MyLanguage/คู่มือการพัฒนา EAI Mail Server บน Ubuntu 22|คู่มือการพัฒนา EAI Mail Server บน Ubuntu 22]] : ตุลาคม 2565 (อัพเดตล่าสุด 22 เมษายน 2567) | ||
+ | * [[Special:MyLanguage/คู่มือการพัฒนา EAI Mail Server บน Ubuntu 20|คู่มือการพัฒนา EAI Mail Server บน Ubuntu 20]] : มกราคม 2565 | ||
* [[Special:MyLanguage/คู่มือการพัฒนา EAI Mail Server บน CentOS 8|คู่มือการพัฒนา EAI Mail Server บน CentOS 8]] : พฤษภาคม 2564 | * [[Special:MyLanguage/คู่มือการพัฒนา EAI Mail Server บน CentOS 8|คู่มือการพัฒนา EAI Mail Server บน CentOS 8]] : พฤษภาคม 2564 | ||
* [[Special:MyLanguage/คู่มือการพัฒนา EAI Mail Server บน CentOS 7|คู่มือการพัฒนา EAI Mail Server บน CentOS 7]] : ธันวาคม 2561 (THNG2018) | * [[Special:MyLanguage/คู่มือการพัฒนา EAI Mail Server บน CentOS 7|คู่มือการพัฒนา EAI Mail Server บน CentOS 7]] : ธันวาคม 2561 (THNG2018) | ||
* [[Special:MyLanguage/การศึกษาเรื่อง EAI|การศึกษาเรื่อง EAI]] : พฤศจิกายน 2560 | * [[Special:MyLanguage/การศึกษาเรื่อง EAI|การศึกษาเรื่อง EAI]] : พฤศจิกายน 2560 | ||
+ | |||
+ | <!--T:38--> | ||
+ | นอกจากนี้ยังได้จัดทำ vdo clip ชุด '''การพัฒนาอีเมลเซิร์ฟเวอร์ให้รองรับอีเมลภาษาไทย''' | ||
+ | |||
+ | <!--T:39--> | ||
+ | [[File:Eai_series.png|link=https://www.youtube.com/playlist?list=PL9HE8-EElX9LkwVTLoa3Yw4DAYUvbO5yx|eai series]] | ||
+ | |||
+ | <!--T:40--> | ||
<!-- | <!-- | ||
* [[Special:MyLanguage/พัฒนาบน CentOS 8 (Thai Version)|พัฒนาบน CentOS 8 (Thai Version)]] : December 2018 (THNG2018) | * [[Special:MyLanguage/พัฒนาบน CentOS 8 (Thai Version)|พัฒนาบน CentOS 8 (Thai Version)]] : December 2018 (THNG2018) | ||
* [[Special:MyLanguage/EAI Study (Thai Version)|EAI Study (Thai Version)]] | [https://wiki.thnic.or.th/en/Main_Page (English Version)] : November 2017 (AIT) | * [[Special:MyLanguage/EAI Study (Thai Version)|EAI Study (Thai Version)]] | [https://wiki.thnic.or.th/en/Main_Page (English Version)] : November 2017 (AIT) | ||
+ | |||
+ | |||
+ | <!--T:41--> | ||
--> | --> | ||
แถว 43: | แถว 57: | ||
<!--T:26--> | <!--T:26--> | ||
− | [https://uasg.tech/information/developers/ Information for Developers] ในเว็บไซต์ของ [[Universal Acceptance Steering Group]] (UASG) | + | อ้างอิงจาก [https://uasg.tech/information/developers/ Information for Developers] ในเว็บไซต์ของ [[Universal Acceptance Steering Group]] (UASG) |
<!--T:27--> | <!--T:27--> | ||
แถว 52: | แถว 66: | ||
<!--T:29--> | <!--T:29--> | ||
− | * Universal Acceptance Compliance of Programming Language Libraries and Frameworks – 2019 [https://uasg.tech/wp-content/uploads/documents/UASG018-en-digital.pdf UASG 018] | + | * Universal Acceptance Compliance of Programming Language Libraries and Frameworks – 2019 [https://uasg.tech/wp-content/uploads/documents/UASG018-en-digital.pdf UASG 018] รีวิวภาษาในการเขียนโปรแกรมและ framework ต่างๆว่ารองรับแนวปฏิบัติที่ดีของ UA อย่างไร |
<!--T:30--> | <!--T:30--> | ||
แถว 59: | แถว 73: | ||
=== คู่มือพัฒนาซอฟต์แวร์ให้รองรับ UA === <!--T:31--> | === คู่มือพัฒนาซอฟต์แวร์ให้รองรับ UA === <!--T:31--> | ||
− | |||
<!--T:32--> | <!--T:32--> | ||
+ | มูลนิธิ THNIC ได้ศึกษาและดำเนินการด้าน UA มาตั้งแต่ปี 2560 และได้รวบรวมความรู้ในการพัฒนาซอฟต์แวร์ระบบ จัดทำเป็นคู่มือดังต่อไปนี้ | ||
* [[Special:MyLanguage/คู่มือการพัฒนาซอฟต์แวร์บนเว็บบราวซ์เซอร์ให้รองรับ UA ด้วยภาษา PHP|คู่มือการพัฒนาซอฟต์แวร์บนเว็บบราวซ์เซอร์ให้รองรับ UA ด้วยภาษา PHP]] | * [[Special:MyLanguage/คู่มือการพัฒนาซอฟต์แวร์บนเว็บบราวซ์เซอร์ให้รองรับ UA ด้วยภาษา PHP|คู่มือการพัฒนาซอฟต์แวร์บนเว็บบราวซ์เซอร์ให้รองรับ UA ด้วยภาษา PHP]] | ||
+ | * [[Special:MyLanguage/คู่มือการพัฒนาซอฟต์แวร์ให้รองรับ UA ด้วยภาษา Java|คู่มือการพัฒนาซอฟต์แวร์ให้รองรับ UA ด้วยภาษา Java]] | ||
+ | |||
+ | === การทดสอบ UA Readiness === <!--T:42--> | ||
+ | |||
+ | <!--T:43--> | ||
+ | การทดสอบ [https://wiki.thnic.or.th/th/Universal_Acceptance_Implementation#Universal_Acceptance Universal Acceptance] Readiness เป็นการทดสอบว่าโปรแกรมและระบบว่าสามารถจัดการกับชื่อโดเมนและชื่ออีเมลในภาษาต่างๆ โดยเฉพาะสามารถ รับ ตรวจสอบ จัดเก็บ ประมวลผล และแสดงผล ได้อย่างถูกต้อง | ||
+ | |||
+ | <!--T:44--> | ||
+ | * Use Case สำหรับการทดสอบ UA Readiness [https://uasg.tech/wp-content/uploads/documents/UASG004-en-digital.pdf UASG004] | ||
+ | * Data สำหรับการทดสอบ UA Readiness [https://uasg.tech/wp-content/uploads/2020/07/UASG004-en-digital.txt UASG004A] | ||
+ | * [[Special:MyLanguage/Use Case และ Data สำหรับการทดสอบ .ไทย UA Readiness |Use Case และ Data สำหรับการทดสอบ .ไทย UA Readiness ]] | ||
= การอบรมเชิงปฏิบัติการด้าน UA และ EAI = <!--T:33--> | = การอบรมเชิงปฏิบัติการด้าน UA และ EAI = <!--T:33--> | ||
แถว 67: | แถว 92: | ||
<!--T:34--> | <!--T:34--> | ||
[https://academy.thnic.or.th/ ศูนย์การเรียนรู้มูลนิธิศูนย์สารสนเทศเครือข่ายไทย (THNIC Academy)] จัดทำโครงการสร้างความพร้อมด้าน Universal Acceptance (UA) และ Email Address Internationalization (EAI) ในประเทศไทย เพื่อเพิ่มความตระหนักถึงความสำคัญของ UA ให้แก่ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องไม่ว่าจะเป็นภาคประชาชน หน่วยงานรัฐบาล ภาคธุรกิจ และผู้เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต โดยเฉพาะนักพัฒนาซอฟต์แวร์, นักพัฒนาเว็บไซต์ และผู้ดูแลระบบ รวมทั้งส่งเสริมให้มีการปรับปรุงระบบเพื่อให้ชื่ออีเมลภาษาไทยจะถูกรับและใช้งานได้อย่างถูกต้อง ดูรายละเอียดได้ที่ [https://academy.thnic.or.th/webinars-on-eai/ Webinar และ Training ด้านการยอมรับภาษาไทย] | [https://academy.thnic.or.th/ ศูนย์การเรียนรู้มูลนิธิศูนย์สารสนเทศเครือข่ายไทย (THNIC Academy)] จัดทำโครงการสร้างความพร้อมด้าน Universal Acceptance (UA) และ Email Address Internationalization (EAI) ในประเทศไทย เพื่อเพิ่มความตระหนักถึงความสำคัญของ UA ให้แก่ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องไม่ว่าจะเป็นภาคประชาชน หน่วยงานรัฐบาล ภาคธุรกิจ และผู้เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต โดยเฉพาะนักพัฒนาซอฟต์แวร์, นักพัฒนาเว็บไซต์ และผู้ดูแลระบบ รวมทั้งส่งเสริมให้มีการปรับปรุงระบบเพื่อให้ชื่ออีเมลภาษาไทยจะถูกรับและใช้งานได้อย่างถูกต้อง ดูรายละเอียดได้ที่ [https://academy.thnic.or.th/webinars-on-eai/ Webinar และ Training ด้านการยอมรับภาษาไทย] | ||
+ | |||
= APAC EAI Implementation Group = <!--T:35--> | = APAC EAI Implementation Group = <!--T:35--> |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 10:42, 15 พฤศจิกายน 2567
เนื้อหา
Universal Acceptance
การยอมรับสากลเป็นข้อกำหนดพื้นฐานสำหรับอินเทอร์เน็ตที่รองรับการทำงานหลายภาษาอย่างแท้จริง ซึ่งจะทำให้ผู้ใช้ทั่วโลกสามารถท่องไปในโลกอินเทรอ์เน็ตในภาษาท้องถิ่นได้ นอกจากนี้ยังเป็นกุญแจสำคัญในการปลดล็อกศักยภาพของโดเมนระดับบนสุดทั่วไป (gTLD) เพื่อส่งเสริมการแข่งขัน ทางเลือกของผู้บริโภค และนวัตกรรมในอุตสาหกรรมชื่อโดเมน
เพื่อบรรลุการยอมรับสากล แอปพลิเคชันและระบบอินเทอร์เน็ตต้องปฏิบัติต่อโดเมนระดับบนสุด (TLD) ทั้งหมดในลักษณะที่สอดคล้องกัน ซึ่งรวมถึง gTLD ใหม่และ TLD ที่เป็นสากล โดยต้องยอมรับ ตรวจสอบ จัดเก็บ ประมวลผล และแสดงชื่อโดเมนทั้งหมด ได้อย่างถูกต้อง
ขณะนี้เป็นเวลาที่จะทำให้ระบบของคุณพร้อมสำหรับการยอมรับสากล และสร้างอินเทอร์เน็ตแห่งอนาคตสำหรับทุกคนอย่างแท้จริง
UA สำหรับผู้ดูแลระบบ
เอกสารทางเทคนิค
อ้างอิงจาก Information for Developers ในเว็บไซต์ของ Universal Acceptance Steering Group (UASG)
- Use Cases for UA Readiness Evaluation UASG 004 Use cases สำหรับนักพัฒนาในการประเมินความพร้อมของระบบในการยอมรับสากล
- Use Cases for UA Readiness Evaluation - Data UASG 004A ข้อมูลสำหรับสำหรับนักพัฒนาสำหรับการประเมินความพร้อมในการยอมรับสากลที่อธิบายใน UASG 004 (ชื่อโดเมนและอีเมลจำนวน 82 ชื่อ)
คู่มือพัฒนา EAI Mail Server
มูลนิธิ THNIC ได้ศึกษาและดำเนินการด้าน UA มาตั้งแต่ปี 2560 และได้รวบรวมความรู้ในการพัฒนาอีเมลเซิร์ฟเวอร์ จัดทำเป็นคู่มือดังต่อไปนี้
- คู่มือการพัฒนา EAI Mail Server บน Ubuntu 24 : พฤษจิกายน 2567 (อัพเดตล่าสุด 11 พฤษจิกายน 2567)
- คู่มือการพัฒนา EAI Mail Server บน Ubuntu 22 : ตุลาคม 2565 (อัพเดตล่าสุด 22 เมษายน 2567)
- คู่มือการพัฒนา EAI Mail Server บน Ubuntu 20 : มกราคม 2565
- คู่มือการพัฒนา EAI Mail Server บน CentOS 8 : พฤษภาคม 2564
- คู่มือการพัฒนา EAI Mail Server บน CentOS 7 : ธันวาคม 2561 (THNG2018)
- การศึกษาเรื่อง EAI : พฤศจิกายน 2560
นอกจากนี้ยังได้จัดทำ vdo clip ชุด การพัฒนาอีเมลเซิร์ฟเวอร์ให้รองรับอีเมลภาษาไทย
UA สำหรับนักพัฒนาซอฟต์แวร์
เอกสารทางเทคนิค
อ้างอิงจาก Information for Developers ในเว็บไซต์ของ Universal Acceptance Steering Group (UASG)
- Use Cases for UA Readiness Evaluation UASG 004 Use cases สำหรับนักพัฒนาในการประเมินความพร้อมของระบบในการยอมรับสากล
- Use Cases for UA Readiness Evaluation - Data UASG 004A ข้อมูลสำหรับสำหรับนักพัฒนาสำหรับการประเมินความพร้อมในการยอมรับสากลที่อธิบายใน UASG 004 (ชื่อโดเมนและอีเมลจำนวน 82 ชื่อ)
- Universal Acceptance Compliance of Programming Language Libraries and Frameworks – 2019 UASG 018 รีวิวภาษาในการเขียนโปรแกรมและ framework ต่างๆว่ารองรับแนวปฏิบัติที่ดีของ UA อย่างไร
- Universal Acceptance Compliance of Programming Language Libraries and Frameworks – 2020 UASG 018A เอกสารอธิบายผลการทดสอบการรองรับ UA ของภาษา C, C#, Go, Java, Javascript, Python3, Rust and frameworks
คู่มือพัฒนาซอฟต์แวร์ให้รองรับ UA
มูลนิธิ THNIC ได้ศึกษาและดำเนินการด้าน UA มาตั้งแต่ปี 2560 และได้รวบรวมความรู้ในการพัฒนาซอฟต์แวร์ระบบ จัดทำเป็นคู่มือดังต่อไปนี้
- คู่มือการพัฒนาซอฟต์แวร์บนเว็บบราวซ์เซอร์ให้รองรับ UA ด้วยภาษา PHP
- คู่มือการพัฒนาซอฟต์แวร์ให้รองรับ UA ด้วยภาษา Java
การทดสอบ UA Readiness
การทดสอบ Universal Acceptance Readiness เป็นการทดสอบว่าโปรแกรมและระบบว่าสามารถจัดการกับชื่อโดเมนและชื่ออีเมลในภาษาต่างๆ โดยเฉพาะสามารถ รับ ตรวจสอบ จัดเก็บ ประมวลผล และแสดงผล ได้อย่างถูกต้อง
- Use Case สำหรับการทดสอบ UA Readiness UASG004
- Data สำหรับการทดสอบ UA Readiness UASG004A
- Use Case และ Data สำหรับการทดสอบ .ไทย UA Readiness
การอบรมเชิงปฏิบัติการด้าน UA และ EAI
ศูนย์การเรียนรู้มูลนิธิศูนย์สารสนเทศเครือข่ายไทย (THNIC Academy) จัดทำโครงการสร้างความพร้อมด้าน Universal Acceptance (UA) และ Email Address Internationalization (EAI) ในประเทศไทย เพื่อเพิ่มความตระหนักถึงความสำคัญของ UA ให้แก่ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องไม่ว่าจะเป็นภาคประชาชน หน่วยงานรัฐบาล ภาคธุรกิจ และผู้เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต โดยเฉพาะนักพัฒนาซอฟต์แวร์, นักพัฒนาเว็บไซต์ และผู้ดูแลระบบ รวมทั้งส่งเสริมให้มีการปรับปรุงระบบเพื่อให้ชื่ออีเมลภาษาไทยจะถูกรับและใช้งานได้อย่างถูกต้อง ดูรายละเอียดได้ที่ Webinar และ Training ด้านการยอมรับภาษาไทย
APAC EAI Implementation Group
สำหรับผู้สนใจติดตามข้อมูลเกี่ยวกับการพัฒนา และแลกเปลี่ยนความรู้ในการพัฒนาระบบอีเมลภาษาไทย สามารถเข้าร่วมกลุ่ม หรือ ติดตามได้ผ่าน mailling list